กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีภาษาไทยEnglish
หน้าหลัก รวมเทคโนโลยีของ วท. เทคโนโลยีอื่น ๆ นํ้ายาชนิดใหม่สำหรับสกัดโปรตีนจากจุลชีพให้ได้หลายชนิดโดยไม่ต้องใช้วิธีทางเครื่องกล(mechanical disruption) ที่ทำให้เซลล์แตก

นํ้ายาชนิดใหม่สำหรับสกัดโปรตีนจากจุลชีพให้ได้หลายชนิดโดยไม่ต้องใช้วิธีทางเครื่องกล(mechanical disruption) ที่ทำให้เซลล์แตก

พิมพ์ PDF

                                                                          
      การสกัดโปรตีนออกจากเซลล์จุลชีพเป็นขั้นตอนที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในการศึกษาวิจัย เพื่อนำโปรตีนที่ได้ไปทำการศึกษาคุณสมบัติตา่ งๆ ที่สนใจตอ่ ไป ปจั จุบันวิธีการสกัดโปรตีนออกจากเซลล์สามารถทำได้โดยวิธีการทางกล(physical method) เชน่ การใช้ความดัน (French press) การใช้การบด (homogenization) หรือการใช้คลื่นความถี่สูง(sonication) แต่วิธีการดังกล่าวมักต้องอาศัยการใช้เครื่องมือราคาแพง และต้องอาศัยความชำนาญทางเทคนิค ส่วนวิธีการเคมีนั้นปัจจุบันมีการจำหน่ายน้ำยาสกัดโปรตีนสำหรับจุลินทรีย์ต่างๆ ซึ่งต้องนำเข้าจากต่างประเทศและมีราคาแพง

 

สรุปเทคโนโลยี
น้ำยาที่พัฒนาขึ้นเป็นการสกัดโปรตีนด้วยวิธีการทางเคมีโดยอาศัยการทำให้เซลล์แตกด้วยสารเคมีจำพวกสารลดแรงตึงผิว (surfactant)เนื่องจากสามารถทำได้ง่ายและมีประสิทธิภาพ

 

จุดเด่นของเทคโนโลยี
• สามารถใช้ในการสกัดโปรตีนได้จากทั้งแบคทีเรีย ยีสต์ และราในขณะที่น้ำยาที่นำเข้ามักใช้ได้กับจุลินทรีย์เพียงบางชนิดเท่านั้น
• สามารถใชกั้บจุลินทรีย์ที่สำคัญได้หลากหลายชนิด โดยที่ยังคงรักษากิจกรรมทางชีวเคมีของโปรตีนไว้เพื่อให้ได้โปรตีนที่มีคุณสมบัติที่ดีในการนำไปศึกษาวิจัยต่อไป
• สามารถผลิตได้ในราคาที่ถูกกว่าน้ำยาที่นำเข้าจากต่างประเทศ ได้อย่างมาก (ถูกกว่า 10 เท่าเมื่อเทียบราคาขาย)
• นํ้ายาสกัดโปรตีนที่พัฒนาขึ้นสามารถใช้ในการสกัดจีโนมิกดีเอ็นเอ (Genomic DNA) ของพวกจุลินทรีย์ต่างๆ ได้โดยเพิ่มขั้นตอนการตกตะกอนดีเอนเอเข้าไป

 

ติดต่อเจ้าของผลงานได้ที่
คุณสุมลวรรณ สังข์ช่วย
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
111 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถนนพหลโยธิน ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120
โทรศัพท์ : 0 2564 6700 ต่อ 3133
โทรสาร : 0 2564 6985
E-mail : อีเมลนี้จะถูกป้องกันจากสแปมบอท แต่คุณต้องเปิดการใช้งานจาวาสคริปก่อน

 

 

 
หน่วยงานในสังกัดกระทรวง
สำนักงานรัฐมนตรี สำนักงานปลัดกระทรวง กรมวิทยาศาสตร์บริการ สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ(องค์การมหาชน) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ(องค์การมหาชน) สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน(องค์การมหาชน) สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร(องค์การมหาชน) สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ(องค์การมหาชน) สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์(องค์การมหาชน)

กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วท.)
เป็นหน่วยงานของรัฐที่จัดตั้งขึ้นเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม สร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศอย่างยั่งยืน ไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไร
หากท่านพบว่ามีข้อมูลใดๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุดต่อไป