กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีภาษาไทยEnglish

Doppler effect (ดอล์ป-เลอร์-เอฟ-เฟค)

พิมพ์ PDF

Doppler effect (ดอล์ป-เลอร์-เอฟ-เฟค)

เป็นปรากฏการณ์ที่เสียงหรือแสง มีการเปลี่ยนแปลงความยาวคลื่น เมื่อแหล่งกำเนิดเสียง หรือแสงนั้น มีการเคลื่อนที่เมื่อเทียบกับผู้้สังเกต โดยจะมีความถี่มากขึ้นเมื่อแหล่งกำเนิดเคลื่อนที่เข้าหาผู้สังเกต และมีความถี่ลดลงเมื่อแหล่งกำเนิดเคลื่อนที่ออกจากผู้สังเกต ตัวอย่างของปรากฏการณ์นี้คือ รถที่เปิดไซเรนวิ่งเข้าหาเราเสียงไซเรนจะมีความถี่สูง และเสียงจะมีความถี่ต่ำลงเมื่อรถวิ่งห่างจากเราไป ปรากฏการณ์นี้ค้นพบโดย คริสเตียน ดอปเปอร์ นักฟิสิกส์ชาวออสเตรีย ปีค.ศ.1803-1853

ติดตามรับฟัง ภาษาวิทย์ วันละคำ ได้ทุกวันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 11.55 น. และวันเสาร์-วันอาทิตย์ เวลา 16.55 น. FM 92.5 MHz หรือสอบถามเพิ่มเติมได้ที่ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Call Center 1313

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 
หน่วยงานในสังกัดกระทรวง
สำนักงานรัฐมนตรี สำนักงานปลัดกระทรวง กรมวิทยาศาสตร์บริการ สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ(องค์การมหาชน) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ(องค์การมหาชน) สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน(องค์การมหาชน) สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร(องค์การมหาชน) สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ(องค์การมหาชน) สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์(องค์การมหาชน)

กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วท.)
เป็นหน่วยงานของรัฐที่จัดตั้งขึ้นเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม สร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศอย่างยั่งยืน ไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไร
หากท่านพบว่ามีข้อมูลใดๆ ที่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โปรดแจ้งให้ทราบเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยเร็วที่สุดต่อไป